บทความ

Trans-Pacific Partnership หรือ TPP: ผลกระทบต่อไทย => ไทยยังไม่เข้าร่วม รัฐบาลให้ศศินทร์ศึกษาแล้วได้ข้อมูลว่าผลเสียมากกว่า

แนวโน้มที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย คือ ความพยายามของสหรัฐฯ ที่จะผลักดันการจัดตั้ง FTA ตัวใหม่ ที่มีชื่อว่า Trans-Pacific Partnership หรือเรียกย่อว่า TPP คอลัมน์โลกทรรศน์ในวันนี้ จะวิเคราะห์ FTA ดังกล่าว โดยจะวิเคราะห์ถึง ภูมิหลัง สาเหตุ ผลกระทบต่อไทย และข้อเสนอท่าทีไทย ดังนี้             ภูมิหลัง                 ในการประชุมเอเปค ที่โยโกฮามา ญี่ปุ่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2010 สหรัฐฯได้ผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเปค เพื่อมาแข่งกับประชาคมอาเซียน สหรัฐฯกลัวว่า เอเชียจะรวมกลุ่มกันโดยไม่มีสหรัฐฯ และอิทธิพลของสหรัฐฯจะลดลง ยุทธศาสตร์ของสหรัฐฯ คือ การรื้อฟื้นเอเปค ด้วยการผลักดันการจัดตั้งประชาคมเอเปค ซึ่งหัวใจของประชาคมดังกล่าว คือ การจัดตั้งเขตการค้าเสรีเอเชีย - แปซิฟิก (Free Trade Area of the Asia-Pacific : FTAAP) ซึ่งหัวใจของ FTAAP คือ การจัดตั้ง FTA ที่มีชื่อว่า Trans-Pacific Partnership หรือ TPP                 ในระหว่างการประชุมเอเปคที่โยโกฮามา ได้มีการประชุมสุดยอด TPP ครั้งแรกขึ้น ระหว่างผู้นำ 9 ประเทศที่สนใจจะเข้าร่วม TPP ซึ่งมีสหรัฐฯเป็นหัวเรือใหญ่

รวมข่าวความเคลื่อนไหว AEC 1-9 กรกฎาคม 2555 ถนนทุกสายมุ่งสู่พม่า

สินค้าแนะนำสำหรับคนจะลุย AEC (คลิ๊กLinkซักครั้งนะ:-) พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ Quicktionary   คอลัมน์: พร้อมรับ "AEC" หรือยัง?: กฎหมายการลงทุนพม่า Source - ประชาชาติธุรกิจ (Th) Wednesday, July 04, 2012  05:31 17661 XTHAI XCLUSIVE XECON DAS V%PAPERL P%PTK           ณกฤช เศวตนันทน์           Thai.attorney@hotmail.com           พม่าเป็นประเทศที่อุดมไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติหลากชนิด ทั้งป่าไม้ แร่ธาตุ ก๊าซธรรมชาติและน้ำมัน เป็นต้น           ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้ต่างเป็นวัตถุดิบที่สำคัญทางอุตสาหกรรม และเป็นที่ต้องการสูงในตลาด นอกจากนี้พม่ายังมีทำเลที่ตั้งอยู่ระหว่างกลางของสองประเทศที่มีประชากรมากที่สุด และกำลังเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงอย่างจีนและอินเดีย ดังนั้นเมื่อพม่าเปิดประเทศ โดยมีการปฏิรูปทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมือง พม่าจึงเป็นเป้าหมายที่น่าเข้าไปแสวงหาโอกาสทางธุรกิจสำหรับนักลงทุนต่างชาติ           อย่างไรก็ดี แม้ทรัพยากรและผลประโยชน์ที่คาดว่าจะได้จากการลงทุนในพม่าจะดูหอมหวานเพียงใด แต่เท่าที่ผ่านมาการลงทุนในพม่าก็ยังคงมีอุปสรรคอยู่หลายประการ หน

วาทะเจ้าสัว ธนินท์ เจียรวนนท์ งานปาฐกถา "พลังจีน...ขับเคลื่อนโลก" ในงานครอบ 36 ปีประชาชาติ #pwchina

รูปภาพ
  เก็บตกทวิตเตอร์จากเพื่อนๆมาแชร์ขอขอบคุณข้อมูล การอ่านเรียงตามลำดับเวลาที่ทวิตนะครับ ปัจจุบันซีพีลงทุนในจีน 173 โครงการใน 29 มณฑล จ้างงานในเมืองจีนหลายหมื่นตำแหน่ง มูลค่าลงทุนหลายแสนล้านบาท #pwchina @pr_CP: ซีพีไปลงทุนในจีนมาแล้วกว่า 32 ปี ตั้งแต่ปี 1979 #pwchina @prachachat: "ศก.จะต่อเนื่องได้การเมืองต้องนิ่ง และผู้นำต้องมีความสามารถ ไม่เช่นนั้นยากจากประเทศที่ยากจนต่ำจากพื้นแล้วพัฒนาให้ดีขึ้นมา" ธนินนทร์ # @prachachat: เจ้าสัวธนินท์ชี้อินโดกำลังแซงไทยขึ้นเบอร์1อาเซียนแนะรัฐทุ่มลงทุนชลประทาน-เกษตร http://t.co/unnXkLKi @pr_CP: AEC เป็นโอกาสของไทย เช่น ต่อไปพม่าปลูกข้าวแข่งแน่ ตลาดข้าวไทยได้ผลกระทบ ถ้าเป็นผม ผมจะไปซื้อข้าวพม่าไปขายทั่วโลก #pwchina @Sasiphen: ประธานธนินท์สนใจทำแฟรนไชส์fast food อาหารจีน โดยจะเริ่มทำในจีนให้สำเร็จก่อน #pwchina @cheryPrachachat: 'นักธุรกิจไทยรัฐบาลยังดูแลไม่พอเรายังงูๆปลาๆได้อย่างนี้เลยอีกหน่อยมีอาเซียน10ปท.เป็นโอกาสของจีนโอกาสของเราอยู่ที่รัฐบาล' #pwchina @cheryPrachachat: 'วัฒนธรรมจีนเกิดมาก็ทำธุ